วันอาทิตย์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2561

สอบปฎิบัติ final


10 เทคนิคเรียน ให้เป็นคนเรียนเก่ง
1. คนเรียนเก่ง แบ่งเวลาเป็น
2. ทบทวนล่วงหน้า-หลังเรียน เข้าหัวไม่ต้องจำ
3.มีสมาธิในเวลาเรียน

4. จับประเด็นให้ได้
5. อ่านเนื้อหาคร่าวๆก่อนเรียน
6. อย่าสักแต่ว่าจด  
7. สอนเพื่อนๆในเรื่องที่เข้าใจ
8. คนเรียนเก่ง ติวเป็นกลุ่มกับเพื่อน ผลัดกันถาม ผลัดกันตอบ
9. มั่นใจในตัวเอง อย่าคิดว่าตัวเองไม่เก่งเรียนยังไงก็ไม่ได้
10. คนเรียนเก่ง ดูแลตัวเอง กินให้พอ นอนให้พอ
คุณสมบัติการเป็นหมอ


1. ความเห็นอกเห็นใจ (Empathy) 
หมอเป็นอาชีพที่ต้องเผชิญกับความเจ็บป่วย ความเข้าใจ ความเห็นอกเห็นใจ ไม่ว่าจะต่อผู้ป่วย ต่อคนในครอบครัว ต่อสัตว์เลี้ยง และต่อบุคคลอันเป็นที่รัก    
2. แรงบันดาลใจ (Motivation) เด็กต้องให้เหตุผลของการอยากเรียนหมอ แสดงออกถึงความสนใจที่มาจากตนเอง รวมถึงเป้าหมายและแรงบันดาลใจในการเลือกเรียนสาขานี้ 
3. การสื่อสาร (Communication)ความสามารถทางการสื่อสาร การใช้ภาษาได้ถูกต้องและเหมาะสม การอธิบายที่ชัดเจนและเข้าใจง่าย รวมทั้งความสามารถในการรับฟัง
4. ความซื่อสัตย์ จริงใจ (Honesty and Integrity) การมีศีลธรรมและความจริงใจต่อตนเองและผู้อื่นเป็นอีกส่วนที่สำคัญในการทำงานในทุกอาชีพ 
5. การรู้จักตนเอง (Personal Insight)   เข้าใจตนเองและรับมือกับความเครียด รู้จักจัดสรรเวลา ตั้งเป้าหมาย มีความรับผิดชอบ ยืดหยุ่นในบางสถานการณ์ และควบคุมอารมณ์จากความกดดันและปัญหาต่างๆ ได้
6. การทำงานร่วมกัน (Team Work) การทำงานร่วมกับผู้อื่น การทำงานเป็นทีม และการจ่ายงานให้เพื่อนร่วมทีมก็สำคัญพอๆ กัน
7. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving) การคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา รวมถึงความสามรถในการตัดสินใจ การวินิจฉัยโรคต่างๆ 
8. การยึดหลักจริยธรรม (Ethical Awareness)จริยธรรมเกี่ยวข้องกับการทำงานของทุกคน ในส่วนของการเป็นหมอ จริยธรรมคือ การดำเนินงานรักษาโรค 
9. ความกระหายรู้ (Intellectual Curiosity)สนใจขวนขวาย ไม่หยุดที่จะหาความรู้ ติดตามข่าวสารวงการแพทย์และงานวิจัยใหม่ๆ และพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ 
เส้นทางการเป็นหมอ
การสอบเข้าเรียนคณะแพทยศาสตร์ มี หลายทาง เช่น โครงการรับส่วนกลางอย่าง กสพท และ มหาวิทยาลัยรับเอง โดย กสพท จะอยู่ในระบบ TCAS รอบ 3 หรือ รอบรับตรง ส่วนรอบมหาลัยรับเองจะอยู่ในรอบ ที่ 1 2 และ 5

พอเราสอบติด ในชั้นปีที่ 1 เนื้อหาการเรียนที่เราจะเจอคือเนื้อหาช่วงมัธยมปลาย แต่จะเหมือนนำเนื้อหาตอน ม.4-6 มารวบยอดอัดแน่นในปีเดียว แถมยังยากกว่าอีก

พอขึ้นปี 2 เราจะได้เรียนเนื้อหาที่เกี่ยวกับเเพทย์จริงๆ อย่าง กายวิภาคศาสตร์ ที่ต้องเจอกับอาจารย์ใหญ่ เพื่อจะได้เรียนรู้ระบบต่างๆของร่างกาย เราจะได้เจอของจริงกันเลยยย ไม่ได้เห็นแค่ในรูปแล้ว การสอบที่เราต้องพบคือการสอบแล็บกริ๊ง ที่จะเป็นฐานหรือสถานี พอมีเสียงกริ๊งดังขึ้นก็ต้องลุกไปยังฐานต่อไป โอโห้ว บางครั้งก็ทำไม่ทันนะ


หลังจากปี 2 เราเรียนเรื่องระบบต่างๆ ของร่างภายซึ่งจะเน้นในภาวะปกติ แต่พอปี 3 จะเรียนในภาวะไม่ปกติ นั้นก็คือ เรียนเกี่ยวกับภาวะที่เกิดโรคนั่นเอง น้องๆจะได้รู้ว่าโรคนั้นเกิดได้จากอะไร

ขึ้นปี 4 แล้วกันเเล้ว เราจะต้องขึ้นหอผู้ป่วยของจริงในโรงพยาบาล โดยหอผู้ป่วยหลักมี 4 หอ เรียกกันติดปากว่า สู ศัลย์ Med เด็ก "สู" เริ่มที่หอผู้ป่วยสูตินรีเวชวิทยา เรียนเกี่ยวกับระบบอวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิง และ การดูแลผู้ป่วยทั้งที่อยู่ในระยะตั้งครรภ์และไม่ได้ตั้งครรภ์  "ศัลย์" ก็คือ ศัลยกรรม หรือ ศัลยศาสตร์ หมายถึงการรักษาด้วยการผ่าตัด ทั้งผ่าตัดเล็กๆ ตั้งแต่หูด ฝี หนอง ไปจนถึงผ่าตัดใหญ่ เช่น ผ่าตัดหัวใจ ผ่าตัดปอด "Med" มาจาก Medicine หรือ อายุรกรรม หมายถึง การรักษาที่เน้นการใช้ยา มักเป็นหอผู้ป่วยที่มีคนไข้เยอะมากที่สุด"เด็ก" ก็คือหอผู้ป่วยเด็ก หรือ กุมารเวชกรม ใครรักเด็กรับรองว่าสนุกสุดๆ 5555แน่นอนว่าเรียนมาถึงขั้นนี้ จะมานั่งสอบกากบาทไม่ได้หรอก การสอบที่ขึ้นชื่อการสอบ OSCE (ออสกี้) คือการลงมือปฏิบัติเสมือนจริงนั่นเอง หน้าที่ประจำวันที่ต้องเจอแน่ๆ คือ ต้องไปถึงโรงพยาบาลตั้งแต่พระอาทิตย์ยังไม่ขึ้น เพื่อเตรียมตัว "ราวนด์" บนวอร์ดผู้ป่วยที่เราจะต้องวนสลับไปเรื่อยๆ ตลอดปี นั่นคือการไปตรวจดูอาการของผู้ป่วย ไม่ต้องกลัวว่าเค้าจะให้เราตรวจคนเดียว เพราะจะมีทั้งอาจารย์หมอ พยาบาล และรุ่นพี่คอยเป็นคนนำทางจ้า

มาถึงปี 5 กันเเล้ว ภาพรวมจะคล้ายๆ ปี4 แต่จะมีความชำนาญมากขึ้น ทำอะไรได้คล่องแคล่วมากขึ้นต้องเจอกับหอผู้ป่วยย่อย ที่ต้องวนไปมาหอละประมาณ 1 เดือน มาดูกันเถอะ มีหออะไรกันบ้างเริ่มที่ "จิตเวชศาสตร์" หรือ ภาวะความผิดปกติทางจิตเวช เช่น โรคซึมเศร้า อารมณ์สองขั้ว หน้าที่หลักๆ คือเข้าไปอยู่ในห้องตรวจกับอาจารย์หมอที่ตรวจผู้ป่วย คอยสังเกตวิธีการพูดคุยหรือซักอาการ "นิติเวชศาสตร์" เรามักคุ้นเคยว่าคือการผ่าศพ แต่จริงๆ 

เทคโนโลยีคืออะไร

เทคโนโลยีคืออะไร

1.ความหมายเทคโนโลยี
รูปภาพที่เกี่ยวข้อง
  ❤ เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งที่มนุษย์พัฒนาขึ้น เพื่อช่วยในการทำงานหรือแก้ปัญหาต่าง ๆ เข่น อุปกรณ์, เครื่องมือ, เครื่องจักร, วัสดุ หรือ แม้กระทั่งที่ไม่ได้เป็นสิ่งของที่จับต้องได้ เช่น กระบวนการต่าง ๆ
เทคโนโลยี เป็นการประยุกต์ นำเอาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ และก่อให้เกิดประโยชน์ ในทางปฏิบัติ แก่มวลมนุษย์กล่าวคือเทคโนโลยีเป็นการนำเอาความรู้ ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ
➽http://oknation.nationtv.tv/blog/kang1989/2008/06/30/entry-3

2. ระบบทางเทคโนโลยี

   ❤ 1. ตัวป้อน (Input) คือ ปัญหาที่ต้องการแก้ไข หรือ ความต้องการของมนุษย์
      ➸2. กระบวนการเทคโนโลยี (Technological Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือการตอบสนองความต้องการ โดยอาศัยทรัพยากรทางเทคโนโลยีเพื่อให้ได้ผลผลิตหรือผลลัพธ์
     ➸ 3. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output หรือ Outcome) คือ สิ่งทีไ่ด้มา หรือเกิดขึ้นจากกระบวนการเทคโนโลยี หรือผลที่ได้จากกระบวนการแก้ปัญหานั่นเอง
     ➸4. ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resource) คือสิ่งที่จำเป็นต้องใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ได้มาซึ่งผลผลิตหรือผลลัพธ์นั่นเอง ซึ่งทรัพยากรทางเทคโนโลยี แบ่งได้ 7 ด้าน ได้แก่ คน ข้อมูลและสารสนเทศ วัสดุ เครื่องมือและอุปกรณ์ พลังงาน ทุนหรือทรัพย์สิน และเวลา

    ➸ 5. ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints) คือ สิ่งที่เป็นข้อจำกัด ข้อพิจารณา หรือสิ่งที่ต้องคำนึงถึง ซึ่งจะทำให้การแก้ปัญหาได้ผลงานแตกต่างกันไป
➽https://sites.google.com/site/withyasastrkabthekhnoloyi2121/rabb-khxng-thekhnoloyi

3.ความสัมพันธ์และบทบาทของเทคโนโลยี

❤ 1.ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจำนวนมหาสารในแต่ละวัน
  ➸ 2.ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ
   ➸3.การจัดเรียงลำดับสารสนเทศ ฯลฯ
  ➸ 4.ช่วยในการจัดเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่เรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก
   ➸5.ช่วยในการจัระบบอัติโนมัติ เพื่อการจัดเก็บ การประมวลผล และการเรียกใชสารสนเทศ
  ➸ 6.ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น

   ➸7.ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทาง โดยใช้ระบบโทรศัพท์ และอื่นๆ
➽https://sites.google.com/site/mrwissarutjanda/page0

4.ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ


❤เทคโนโลยีเป็นวิชาที่ไม่อยู่ตามลำพังเพียงวิชาเดียวร่วมกับวิชาอื่นๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์เศรษฐศาสตร์เทคโนโลยีต้องอาศัยองค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ในการประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ เครื่องใช้ที่ใช้แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์วิทยาศาสตร์ต้องอาศัยเครื่องมือที่สร้างจากเทคโนโลยีในการค้นคว้าหาความรู้ใหม่ๆ
➸1. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
➸2. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับมนุษย์ศาสตร์
➸3.  ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
➸4.  ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับการศึกษา
➸5.  ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับเกษตรกรรมในปัจจุบันได้นำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการเกษตร
➸6. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับอุตสาหกรรมการผลิต
➸7. ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับอุตสาหกรรมการขนส่งและโลจิสติกส์
➽https://sites.google.com/a/srp.ac.th/srp30942/2-khwam-sakhay-laea-bthbath-khxng-thekhnoloyi-1
5.เทคโนโลยีท้องถิ่นและเทคโนโลยีนำเข้า
❤เทคโนโลยีท้องถิ่น คือ เทคโนโลยีพื้นบ้านไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เป็นระบบ อาศัยการสังเกตปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในสิ่งแวดล้อมของตน
❤เทคโนโลยีนำเข้า คือการนำเทคโนโลยีจากท้องถิ่นอื่นมาปรับปรุงให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตในท้องถิ่นของตน

6.เทคโนโลยีกับการพัฒนาประเทศ

Resume

SJ. Saint Joseph Nakhonsawan School



Name: Nitphusida Nimchuen
Nickname: poy
My Birthday: 26 July 2002
Age: 16
My favorite subject: computing
My favorite food:Hainanese chicken rice ,Fried Shrimp
My hobb is Listen to music andRead Joy Lada
My free time : got7 music
My favorite music: never ever , you are , fly , fake love ,dna
My idol : mark got7 ,  Jungkook  bts
My band : got7 , bts ,  wanna one ,  exo  

python 1.ประวัติ           Python คือชื่อภาษาที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมภาษาหนึ่ง ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาโดยไม่ยึดติดกับแพลตฟอร์ม กล่าวคือสา...